การอุดฟันเป็นวิธีการรักษาทางทันตกรรมสำหรับผู้ป่วยที่มีฟันผุหรือบิ่น โดยทันตแพทย์จะทำการซ่อมแซมบริเวณนั้นด้วยวัสดุอุดฟันต่างๆ เช่น วัสดุ อมัลกัม และวัสดุเรซินสีเหมือนฟัน
ประเภทของการอุดฟัน
การอุดฟันโดยทั่วไปแบ่งออกเป็น 2 ประเภทตามชนิดของวัสดุที่ใช้ดังนี้
- การอุดฟันด้วยวัสดุอมัลกัม
- การอุดฟันด้วยวัสดุเรซินสีเหมือนฟัน
ศูนย์ทันตกรรมของเราเลือกใช้ 3M ESPE Filtek ในการอุดฟันด้วยวัสดุเรซินสีเหมือนฟัน เนื่องจากเป็นที่ยอมรับด้านนาโนเทคโนโลยี ซึ่งมีประสิทธิภาพและความแข็งแรงสูงในการอุดฟัน
คุณสมบัติของ 3M ESPE Filtek
- เนื่องจากประกอบด้วยอนุภาคขนาดเล็กจึงให้ความเงางามและการเกาะยึดที่ดี
- มีความแข็งแรงและทนทานสูงแม้ใช้ในฟันกรามที่ต้องรับแรงบดเคี้ยว
- สามารถใช้ในงานอุดฟันแบบง่ายๆจนถึงซับซ้อน สามารถปรับแต่งผสมสีให้มีความสวยงามใกล้เคียงกับสีของฟันตามธรรมชาติมากที่สุด
- มีระดับการหดตัวต่ำจึงช่วยลดโอกาสที่จะเกิดการเสียวฟันของผู้ป่วย
- ให้ความใสสว่างจึงช่วยให้แลดูเป็นธรรมชาติมากยิ่งขึ้น
- คุณสมบัติเฉพาะที่ได้รับจากการพัฒนาด้วยนาโนเทคโนโลยีจึงทำให้การอุดฟันที่ได้มีประสิทธิภาพการทำงานสูง
The above information has been taken from 3M ESPE website.
การอุดฟันด้วยวัสดุเรซินสีเหมือนฟัน
ขั้นตอนการอุดฟันด้วยวัสดุเรซินสีเหมือนฟัน
- ขั้นการตรวจวินิจฉัยและการกรอฟันที่ผุออก
- เนื้อฟันที่ผุและติดเชื้อได้รับการกรอทิ้งไป
- การเตรียมพื้นที่ฟันเพื่อการอุด
- ขั้นตอนการอุดฟัน
- ทันตแพทย์จะทำการใส่วัสดุเรซินสีเหมือนฟัน สลับกับการฉายแสงให้วัสดุแข็งตัวเป็นชั้นๆ
- หลังจากได้รับการอุดเต็มพื้นที่แล้ว ทันตแพทย์จะทำการกรอแต่งให้ได้รูปร่างที่เหมาะสมตามต้องการ
- ทันตแพทย์จะทำการขัดวัสดุให้มีความเงางามดูเป็นเนื้อเดียวกันกับฟันตามธรรมชาติ
- polish final restoration
อาการที่อาจเกิดขึ้นได้หลังการรักษา
โดยทั่วไป การอุดฟันหรือการเปลี่ยนวัสดุอุดนั้นสามารถทำได้ด้วยขั้นตอนง่ายๆ ในเวลาสั้นๆ ดังนั้นอาการต่างๆ เช่น การเสียวฟันหลังการรักษาจึงเกิดขึ้นได้น้อยมาก การอุดฟันสามารถทำและเสร็จภายในวันเดียว แต่สำหรับกรณีทีผู้ป่วยมีจำนวนฟันที่ต้องเข้ารับการอุดมากๆนั้น อาจทำได้โดยการทยอยเข้ารับการอุด
การดูแลรักษาหลังได้รับการอุดฟัน
To maintain your fillings, you should follow good oral hygiene practices:
- ควรทำความสะอาดด้วยการแปรงฟันอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง การแปรงฟันหลังรับประทานอาหารเป็นการเริ่มวินัยที่ดีในการดูแลสุขภาพปากและฟันซึ่งเป็นสิ่งที่ควรปฏิบัติอย่างยิ่ง
- ควรทำความสะอาดด้วยไหมขัดฟันอย่างน้อยวันละ 1 – 2 ครั้ง
- ควรใช้น้ำยาบ้วนปากที่มีส่วนผสมของฟลูออไรด์ก่อนเข้านอนทุกวัน โดยกลั้วน้ำยาบ้วนปากและอมไว้ประมาณ 1 นาที และไม่ควรดื่มน้ำหรือรับประทานอาหารภายใน 30 นาทีหลังจากนั้น
- ควรพบทันตแพทย์เพื่อตรวจสุขภาพฟันและเข้ารับการขัดฟันขูดหินปูนเป็นประจำทุก 6 เดือน
- ในกรณีที่มีอาการเสียวฟันหรือปวดฟัน หรือมีการแตกและหลุดของวัสดุอุดฟัน ควรเข้าพบทันตแพทย์ทันที
Goto section on Frequently Asked Questions (FAQs) on Dental Fillings
ข้อเปรียบเทียบในการใช้วัสดุอมัลกัม และวัสดุเรซินสีเหมือนฟัน ในการอุดฟัน
การตกแต่งและบูรณะฟันด้วยวัสดุเรซินสีเหมือนฟัน
การตกแต่งและบูรณะฟันด้วยวัสดุเรซินสีเหมือนฟัน เป็นการนำวัสดุเรซินที่สามารถเลือกสีให้เหมือนกับฟันของผู้เข้ารับบริการนั้นๆ มาประยุกต์ใช้ในงานทันตกรรมเพื่อความสวยงาม ซึ่งเป็นวิธีการที่มีค่าใช้จ่ายไม่มาก
การตกแต่งและบูรณะฟันด้วยวัสดุเรซินสีเหมือนฟัน
- สามารถนำมาใช้ในการซ่อมแซมฟันที่ผุ
- สามารถนำมาใช้ในการซ่อมแซมฟันที่บิ่นหักเล็กน้อย
- สามารถใช้ในการแก้ไขปัญหาสีของฟันที่ไม่สวยงาม
- สามารถใช้ในการปิดช่องว่างระหว่างฟัน
- สามารถช่วยในการเพิ่มความยาวของฟัน
- สามารถช่วยในการแก้ไขปัญหาเรื่องสีและรูปร่างของฟัน
- ช่วงอำพรางหรือลดความชัดเจนของคราบสีบนฟัน
- สามารถใช้ในการแก้ปัญหาฟันล้มได้ระดับหนึ่ง
- เป็นอีกทางเลือกหนึงในการอุดฟันนอกจาการใช้วัสดุอมัลกัม
- สามารถใช้ในการอุดปิดคอฟันและปกป้องผิวของรากฟันที่โผล่ออกมานอกเหงือกซึ่งมักเกิดจากปัญหาเหงือกร่น
ขั้นตอนการบูรณะฟันด้วยวัสดุเรซิน
- ขั้นตอนการตรวจวินิจฉัยและการเตรียมฟัน
- ทันตแพทย์จะทำตรวจวินิจฉัยแล้วจึงทำการเทียบสีฟันเพื่อที่จะสามารถเลือกใช้สีของวัสดุที่ใกล้เคียงกับสีฟันของผู้ป่วยมากที่สุด
- การขัดและกรอผิวฟันให้มีความหยาบเพื่อให้การติดยึดของวัสดุมีความทนทานมากที่สุด
- ขั้นตอนการใช้วัสดุเรซิน
- การติดวัสดุเรซิน และแต่งรูปให้มีความเหมาะสมกับฟัน
- การฉายแสงเพื่อให้วัสดุแข็งตัว
- การกรอแต่งรูปร่างและการขัดวัสดุให้มีความสวยเงางาม
Recovery Expectations
การบูรณะและตกแต่งฟันด้วยการใช้วัสดุเรซิน เช่นการอุดปิดช่องว่างระหว่างฟัน นั้น แทบจะไม่มีการกรอเนื้อฟันออกเลย ดังนั้นวิธีการนี้จึงไม่ก่อให้เกิดการเสียวฟันหรืออาจเกิดขึ้นได้น้อยมาก
วิธีการดูแลรักษา
Simply follow good oral hygiene practices.
- ควรทำความสะอาดด้วยการแปรงฟันอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง การแปรงฟันหลังรับประทานอาหารเป็นการเริ่มวินัยที่ดีในการดูแลสุขภาพปากและฟันซึ่งเป็นสิ่งที่ควรปฏิบัติอย่างยิ่ง
- ควรทำความสะอาดด้วยไหมขัดฟันอย่างน้อยวันละ 1 – 2 ครั้ง
- ควรทำการบ้วนปากด้วยน้ำยาผสมฟลูออไรด์ก่อนนอนทุกวัน โดยทำกลั้วน้ำยาและอมไว้ในปากอย่างน้อย 1 นาที และไม่ควรดื่มน้ำหรือรับประทานอาหารภายใน 30 นาทีหลังการบ้วนปาก
- ควรให้ความระมัดระวังและหลีกเลี่ยงการเคี้ยวของแข็งบริเวณที่ได้รับการบูรณะตกแต่งฟัน
- ควรพบทันตแพทย์เป็นประจำทุก 6 เดือน
Goto section on Frequently Asked Questions (FAQs) on Dental Bonding
คำถามและคำตอบกับการตกแต่งฟันโดยใช้วัสดุสีเหมือนฟัน
- อะไรคือผลดีและผลเสียจากการทำ Bonding
- มีการดูแลรักษาเป็นพิเศษหรือไม่
- การทำ Bonding สามารถอยู่ได้นานขนาดไหน
อะไรคือผลดีและผลเสียจากการทำ Bonding
ประโยชน์ที่ได้รับ การทำ Bonding เป็นวิธีที่ง่ายที่สุดและมีค่าใช้จ่ายน้อยในการขบวนการเสริมความงามในด้านทันตกรรม ไม่เหมือนกับ การทำ veneers , crowns ซึ่งกรรมมาวิธีดังกล่าวต้องทำร่วมกับ laboratory ซึ่งการทำ Bonding สามารถทำได้ในครั้งเดียว อีกปะการหนึ่งคือ ถ้าเปรียบเทียบกับ veneers , crowns แล้ว การใช้วัสดุสีเหมือนฟันนี้ไม่ต้องมีการถอนฟันซี่ใดออกแต่ประการใด
ผลเสีย ของการทำ Bonding นี้สีจะไม่คงทนเหมือนการทำ veneers and crowns และวัสดุที่ใช้จะไม่คงทนเหมือนกับ veneers and crowns ในกรณีที่ใช้วัสดุสีเหมือนฟันในบางกรณีอาจมีการแตกได้ เพราะการทำ Bonding จะดีสำหรับในกรณีการทำ อุดฟันในจุดที่เล็กในกรณีที่ต้องการอุดในบริเวณฟันหน้าเพื่อความสวยงามเท่านั้น ในกรณีพิเศษควรปรึกษาแพทย์ของท่านเพื่อคำแนะนำที่เหมาะสม
มีการดูแลรักษาเป็นพิเศษหรือไม่
การทำ Bonding ต้องการการดูแลเป็นพิเศษหรือไม่
การทำ Bonding นั้นผู้ป่วยไม่จำเป็นต้องดูแลเป็นพิเศษแม้แต่น้อย แค่เพียงทำการดูแลตามปกติ คือ แปรงฟันอย่างน้อย 2 ครั้งต่อวัน ใช้ไหมขัดฟันวันละครั้งทุกวัน และพบทันตแพทย์เพื่อตรวจเช็คและทำความสะอาดตามปกติ เพราะวัสดุที่ใช้ในการทำ Bonding นี้สามารถที่จะเคลื่อนย้ายได้ควรทีจะหลีกเลี่ยงการกัดเล็บ ปากกา ไอศครีม และอาหารที่ยาก เมื่อไหร่ที่วัสดุสีเหมือนฟันหลุด สามารถที่จะรู้ได้อาการปวด หรือ รู้สึกแปลกเมื่อมีการกัดหรือขบเคี้ยว ควรพบแพทย์
การทำ Bonding สามารถอยู่ได้นานขนาดไหน
ขึ้นอยู่กับจำนวนของวัสดุสีเหมือนฟันที่ทำและนิสัยเฉพาะบุคคล อย่างไรก็ตามปกติวัสดุสีเหมือนฟันจะอยู่ได้นานอย่างต่ำ 3 ปีถึง 10 ปีก่อนที่จะมีการเปลี่ยนวัสดุสีเหมือนฟันใหม่
Source from http://www.webmd.com
Frequently Asked Questions (FAQs) on Dental Fillings
- Indirect Fillings คืออะไร
- การอุดฟันชั่วคราวคืออะไร ทำไมคนไข้ต้องทำ
- การอุดด้วยใช้วัสดุสีเงินปลอดภัยหรือไม่
Indirect Fillingsคืออะไร
Indirect Filling คล้ายกับการใช้วัสดุสีเหมือนฟันอุดฟัน แต่กรณีนี้จะแตกต่างตรงที่ Indirect Filling ต้องทำใน dental laboratory และต้องการคนไข้มาพบทันตแพทย์ 2 ครั้ง Indirect Filling จะทำในกรณีที่คนไข้มีฟันเหลือไม่เพียงพอที่จะอุดได้ แต่ถ้าเป็นกรณีที่ฟันไม่มีอาการร้ายแรงมากนั้น แนะนำทำ Crown
ระหว่างการพบแพทย์ในครั้งแรก สีดำที่ติดกับฟัน หรือ ตัวอุดฟันตัวเก่าต้องถูกเอาออก และคนไข้จะถูกพิมพ์ปากเพื่อจะได้มีรูปทรงของฟัน ฟันที่ถูกพิมพ์ขึ้นจะถูกนำส่ง lab เพื่อจะทำ Indirect Filling ทันตแพทย์จะอุดฟันชั่วคราวให้คนไข้ก่อนในระหว่างที่รองานจาก Lab การมาครั้งที่ 2 วัสดุที่อุดชั่วคราว จะถูกรื้อออก และทันตแพทย์จะ check อีกทีว่าวัสดุที่ถูกจัดส่งมาจาก Lab นั้นพอดีกับคนไข้
There are two types of indirect fillings – inlays and onlays.
- Inlays are similar to fillings but the entire work lies within the cusps (bumps) on the chewing surface of the tooth
- Onlays are more extensive than inlays, covering one or more cusps. Onlays are sometimes called partial crowns
Inlays and onlays are more durable and last much longer than traditional fillings – up to 30 years. They can be made of tooth-colored composite resin, porcelain or gold. Inlays and onlays weaken the tooth structure, but do so to a much lower extent than traditional fillings.
การอุดฟันชั่วคราวคืออะไร ทำไมคนไข้ต้องทำ
Temporary fillings are used under the following circumstances:
- For fillings that require more than one appointment – for example, before placement of inlays and onlays
- Following a root canal
- To allow a tooth’s nerve to “settle down” if the pulp became irritated
- If emergency dental treatment is needed (such as to address a toothache)
การอุดฟันชั่วคราวจะไม่คงทนมันสามารถหลุดออกมาเมื่อไหร่ก็ได้ภายใน1 เดือน คนไข้ต้องติดต่อทันตแพทย์เพื่อเปลี่ยนตัวอุดชั่วคราวเป็นถาวรถ้าคนไข้ไม่ทำการเปลี่ยนการอุดชั่วคราวคนไข้มีโอกาสติดเชื้อได้
การอุดโดยใช้วัสดุสีเงินปลอดภัยหรือไม่
จากที่ผ่านมาหลายปีการอุดฟันด้วยวัสดุสีเงิน เป็นเพราะว่ามันถูกทำมาจากตะกั่วหลายคนจึงเกิดการกังวลว่ามันสามารถที่จะติดเชื้อได้ รวมถึงการที่จะทำให้เป็น autism, Alzheimer’s disease , multiple sclerosis
The American Dental Association (ADA), the FDA, and numerous public health agencies แจ้งว่าวัสดุดังกล่าวปลอดภัยและยังไม่พบท่านใดป่วยเป็นโรคดังกล่าวจากการใช้วัสดุดังกล่าว สาเหตุของ autism, Alzheimer’s disease , multiple sclerosis ยังไม่ทราบสาเหตุ